Pedagogical grammar of Mandarin Chinese negation "Bu" and "Mei (You)" for Thai unversity students

Thesis (M.A.)--Chulalongkorn University, 2006

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: Phornphan Thongbanchachai (Author)
Other Authors: Sasarux Petcherdchoo (Contributor), Chulalongkorn University. Faculty of Arts (Contributor)
Format: Book
Published: Chulalongkorn University, 2010-10-18T09:19:35Z.
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13676
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!

MARC

LEADER 00000 am a22000003u 4500
001 repochula_13676
042 |a dc 
100 1 0 |a Phornphan Thongbanchachai  |e author 
245 0 0 |a Pedagogical grammar of Mandarin Chinese negation "Bu" and "Mei (You)" for Thai unversity students 
246 3 3 |a ไวยากรณ์เพื่อการสอนคำปฏิเสธ "BR" และ "MEI(YOU)" ในภาษาจีนกลางให้แก่นักศึกษาไทย 
260 |b Chulalongkorn University,   |c 2010-10-18T09:19:35Z. 
500 |a http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13676 
520 |a Thesis (M.A.)--Chulalongkorn University, 2006 
520 |a การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาเปรียบเทียบคำปฏิเสธ "BU" และ "MEI(YOU)" ในภาษาจีนกลางกับคำในภาษาไทยในลักษณะเดียวกัน เพื่อให้นักศึกษาไทยเข้าใจและสามารถใช้คำปฏิเสธ "BU" และ "MEI(YOU)" ได้อย่างถูกต้อง และเพื่อให้อาจารย์ผู้สอนภาษาจีนกลางเข้าใจสถานการณ์และสาเหตุของข้อผิดพลาดของนักศึกษาไทยในการใช้คำปฏิเสธ "BU" และ "MEI(YOU)" นอกจากนี้ยังเสนอแนวทางการสอนคำปฏิเสธ "BU" และ "MEI(YOU)" ให้แก่นักศึกษาไทยอีกด้วย ผลการวิจัย พบว่า ในด้านโครงสร้างทางไวยากรณ์ ภาษาจีนกลางและภาษาไทยมีโครงสร้างไวยากรณ์ที่คล้ายกัน เช่น ภาษาจีนกลางและภาษาไทยจะวางคำปฏิเสธไว้หน้าคำกริยา เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีโครงสร้างทางไวยากรณ์ที่แตกต่างกันด้วย เช่น ภาษาจีนกลางสามารถวางคำปฏิเสธไว้หน้าคำบุพบท แต่ภาษาไทยจะไม่วางคำปฏิเสธไว้หน้าคำบุพบท เป็นต้น ส่วนในด้านความหมาย คำปฏิเสธในภาษาจีนกลางและภาษาไทยแสดงความหมายเหมือนกัน คือ เพื่อแสดงอัตวิสัยและภววิสัย เพื่อแสดงถึงเหตุการณ์ที่ยังไม่เกิดขึ้นและเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นแล้ว เพื่อแสดงสภาพและการเปลี่ยนแปลงสภาพ และเพื่อแสดงถึงความเคยชินและความเป็นครั้งคราว สาเหตุของข้อผิดพลาดของนักศึกษาไทยในการใช้คำปฏิเสธ "BU" และ "MEI(YOU)" ได้แก่ (1) กระบวนการเรียนรู้คำปฏิเสธ "BU" และ "MEI(YOU)" ของนักศึกษาไทยไม่ถูกต้อง (2) การศึกษาเปรียบเทียบคำปฏิเสธ "BU" และ "MEI(YOU)" ในภาษาจีนกลางและภาษาไทยไม่ถูกต้อง (3) เกณฑ์การใช้คำปฏิเสธ "BU" และ "MEI(YOU)" ไม่ชัดเจน สำหรับแนวทางการสอนคำปฏิเสธ "BU" และ "MEI(YOU)" นั้น ได้แบ่งออกเป็น 3 ด้าน คือ หน้าที่ โครงสร้าง และวิธีใช้ โดยอาศัยสถิติที่เกิดข้อผิดพลาดมาจัดลำดับการสอน โครงสร้างที่ควรสอนก่อนควรเป็นโครงสร้างที่ใช้บ่อย และมีข้อผิดพลาดในการใช้น้อย จากนั้นควรเป็นโครงสร้างที่ใช้น้อยและมีข้อผิดพลาดในการใช้สูง 
540 |a Chulalongkorn University 
546 |a en 
690 |a Mandarin dialects -- Usage 
690 |a Chinese language -- Usage 
690 |a Mandarin dialects -- Negatives 
690 |a Chinese language -- Negatives 
655 7 |a Thesis  |2 local 
100 1 0 |a Sasarux Petcherdchoo  |e contributor 
100 1 0 |a Chulalongkorn University. Faculty of Arts  |e contributor 
787 0 |n http://doi.org/10.14457/CU.the.2006.1775 
856 4 1 |u http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13676