Growth options and interest rate exposure: a cross country comparison
Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2004
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | , |
Format: | Book |
Published: |
Chulalongkorn University,
2012-11-08T03:10:11Z.
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23350 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Summary: | Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2004 This study is aimed to investigate and compare the impact of growth options on the relationship between stock returns and interest rate change across countries. In the study, the firm's growth options are measured by the book-to-market equity ratio. The sample consists of listed companies in Hong Kong, Indonesia, Malaysia, Philippines, Singapore, Taiwan, and Thai during 1997-2003 period. The study finds that the impact of growth options on the relationship between stock returns and interest rate change is different in each country and depends on the models. In models controlling market factors, the results found in Singapore are consistent with the hypothesis. Returns on high-growth portfolio are positively correlated with interest rate change, while those on low-growth portfolio are negatively correlated with interest rate change. In addition, in the models that use the three-factor model as control variables, most stock returns are not significantly correlated with interest rate. งานวิจัยชิ้นนี้มีจุดประสงค์เพื่อทำการศึกษาถึงผลกระทบจากปัจจัยโอกาสที่บริษัทจะ เติบโตต่อไปในอนาคตต่อความสัมพันธ์ระหว่างผลตอบแทนของหุ้นสามัญกับการเปลี่ยนแปลงของอัตราดอกเบี้ยรวมทั้งเปรียบเทียบผลการศึกษาในแต่ละประเทศในงานวิจัยชิ้นนี้โอกาสในการเติบโตของบริษัทถูกวัดจากสัดส่วนมูลค่าผู้ถือหุ้นตามบัญชีต่อมูลค่าตามตลาด กลุ่มตัวอย่างที่ใช้คือ บริษัทจดทะเบียนที่อยู่ในตลาดหลักทรัพย์ฮ่องกง อินโดนีเซียมาเลเซียฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ ไต้หวัน และไทยในช่วงระหว่างปี พ.ศ. 2540 ถึง พ.ศ. 2546 ผลการศึกษาพบว่าผลกระทบจากปัจจัยโอกาสที่บริษัทจะเติบโตต่อไปในอนาคตต่อความ สัมพันธ์ระหว่างผลตอบแทนของหุ้นสามัญกับการเปลี่ยนแปลงของอัตราดอกเบี้ยมีความแตกต่างกัน ไปในแต่ละประเทศและขึ้นอยู่กับแบบจำลองที่ใช้ สำหรับแบบจำลองที่ควบคุมผลกระทบจากปัจจัยตลาด ผลลัพธ์ที่พบในประเทศสิงค์โปร์สอดคล้องกับสมมติฐาน อัตราผลตอบแทนของบริษัทในกลุ่ม ที่มีโอกาสในการเติบโตสูงมีความสัมพันธ์ในทางบวกกับการเปลี่ยนแปลงของอัตราดอกเบี้ย ในขณะที่อัตราผลตอบแทนของบริษัทในกลุ่มที่มีโอกาสในการเติบโตต่ำมีความสัมพันธ์ในทางลบกับการเปลี่ยนแปลงของอัตราดอกเบี้ย นอกจากนี้สำหรับแบบจำลองที่มี Fama and French three-factor model เป็นตัวแปรควบคุม อัตราผลตอบแทนในกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ไม่มีความสัมพันธ์อย่างมีนัย สำคัญกับอัตราดอกเบี้ย |
---|---|
Item Description: | 9745320994 http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23350 |