The relationships between affective variables, willingness to communicate in English, and English communication behaviors of Thai secondary school students

Thesis (M.Ed.)--Chulalongkorn University, 2009

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: Hathairat Jongsermtrakoon (Author)
Other Authors: Jutarat Vibulphol (Contributor), Chulalongkorn University, Faculty of Education (Contributor)
Format: Book
Published: Chulalongkorn University, 2013-07-17T07:38:44Z.
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/33175
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!

MARC

LEADER 00000 am a22000003u 4500
001 repochula_33175
042 |a dc 
100 1 0 |a Hathairat Jongsermtrakoon  |e author 
245 0 0 |a The relationships between affective variables, willingness to communicate in English, and English communication behaviors of Thai secondary school students 
246 3 3 |a ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรด้านจิตพิสัย ความเต็มใจที่จะสื่อสารในภาษาอังกฤษและพฤติกรรมการสื่อสารภาษาอังกฤษของนักเรียนมัธยมศึกษาไทย 
260 |b Chulalongkorn University,   |c 2013-07-17T07:38:44Z. 
500 |a http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/33175 
520 |a Thesis (M.Ed.)--Chulalongkorn University, 2009 
520 |a The present study aimed to investigate the levels of affective variables (international posture, English learning motivation, and confidence in English communication), WTC in English, and English communication behaviors of Thai secondary school students, the relationships between five constructs and the model of English communication in Thai contexts. The participants were 438 eleventh grade students in 11 public schools under Bangkok Educational Service Areas 1-3 in the academic year 2009. The research instruments were questionnaire, classroom observation scheme, and interview questions. The findings revealed that Thai secondary school students reported having English learning motivation at the high level and other four constructs at the moderate level. About the relationships between five constructs, WTC in English was found to have the relationship with English communication behaviors at the moderate level, and affective variables were found to have the relationships with WTC in English and English communication behaviors at the low level at the significant level of .05. The observation data showed that the students with higher WTC communicated more frequently than the ones with lower WTC. The interview data showed that students with high and low WTC had similar levels of affective variables. For the model of English communication in Thai contexts, the findings exhibited the different model from the theoretical model. The new model fitted in with the empirical data. The validation indicated the goodness of fit test: chi-square = 18.51, p = .95, df = 30, GFI = .99, AGFI = .97 and RMR = .033. 
520 |a การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับตัวแปรด้านจิตพิสัย (ทัศนคติต่อเรื่องนานาชาติ แรงจูงใจในการเรียนภาษาอังกฤษและความมั่นใจในการสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษ) ความเต็มใจที่จะสื่อสารในภาษาอังกฤษ และพฤติกรรมการสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษ) ความเต็มใจที่จะสื่อสารในภาษาอังกฤษ และพฤติกรรมการสื่อสารภาษาอังกฤษของนักเรียนมัธยมศึกษาไทย ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรทั้งห้า และโมเดลของการสื่อสารภาษาอังกฤษในบริบทไทย โดยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 จำนวน 438 คน ที่ศึกษาอยู่ในโรงเรียนรัฐบาล 11 โรง ในเขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานครเขต 1-3 ในปีการศึกษา 2552 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลคือ แบบสอบถาม แบบสังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียนและแบบสัมภาษณ์ ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนไทยระดับมัธยมศึกษามีแรงจูงใจในการเรียนภาษาอังกฤษในระดับสูง และตัวแปรอื่นอีกสี่ตัวแปรในระดับปานกลาง สำหรับความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรทั้งห้า ความเต็มใจที่จะสื่อสารในภาษาอังกฤษมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการสื่อสารภาษาอังกฤษในระดับปานกลาง และตัวแปรด้านจิตพิสัยมีความสัมพันธ์กับความเต็มใจที่จะสื่อสารในภาษาอังกฤษและพฤติกรรมการสื่อสารภาษาอังกฤษในระดับต่ำอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 ข้อมูลจากการสังเกตพบว่า นักเรียนที่มีความเต็มใจที่จะสื่อสารสูงกว่า สื่อสารด้วยภาษาอังกฤษในชั้นเรียนบ่อยกว่านักเรียนที่มีความเต็มใจที่จะสื่อสารต่ำกว่า ข้อมูลจากการสัมภาษณ์พบว่านักเรียนที่มีความเต็มใจที่จะสื่อสารสูงและต่ำ มีระดับตัวแปรด้านจิตพิสัยคล้ายคลึงกัน สำหรับโมเดลการสื่อสารภาษาอังกฤษในบริบทไทย ผลการวิจัยแสดงโมเดลที่แตกต่างจากโมเดลเชิงทฤษฎี โมเดลใหม่สอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ ความตรงแสดงว่าสถิติวัดระดับความกลมกลืน ดังนี้ ค่าไค-สแควร์ = 18.51, p = .95, ที่ค่าองศาอิสระ = 30, ค่า GFI = .99, ค่า AGFI = .97 และค่า RMR = .033. 
540 |a Chulalongkorn University 
546 |a en 
690 |a English language -- Communication 
690 |a Interpersonal communication 
690 |a Communicative competence 
690 |a High school students 
690 |a ภาษาอังกฤษ -- การสื่อสาร 
690 |a การสื่อสารระหว่างบุคคล 
690 |a ความสามารถในการสื่อสาร 
690 |a นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย 
655 7 |a Thesis  |2 local 
100 1 0 |a Jutarat Vibulphol  |e contributor 
100 1 0 |a Chulalongkorn University, Faculty of Education  |e contributor 
787 0 |n http://doi.org/10.14457/CU.the.2009.1557 
856 4 1 |u http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/33175