Determinants of microcredit repayment rate in India, Bangladesh, Peru, and Bolivia

Thesis (M.A.)--Chulalongkorn University, 2012

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: Jimena Abal (Author)
Other Authors: Jessica Vechbanyongratana (Contributor), Sukanda Luangon Lewis (Contributor), Chulalongkorn University. Faculty of Economics (Contributor)
Format: Book
Published: Chulalongkorn University, 2013-11-05T08:42:21Z.
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/36584
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Description
Summary:Thesis (M.A.)--Chulalongkorn University, 2012
The main purpose of this study was to discover if competition has a negative effect on microloan repayment rates. In addition, this study tests the effects of gender, income, interest rate, age of microfinance institution, legal status, and regulatory status on loan repayment rates. In order to test the relationships, this study used two countries from Asia, India and Bangladesh, and two countries from Latin America, Peru and Bolivia. The years of the observations used varies from 2003 to 2011. The results show that the competition variable is not significant in any countries studied while gender and legal status have a significant positive effect on repayment rates, whereas age has a significant negative effect in repayment rate in specific countries. This study also shows that in the case of Bolivia, the repayment rate is strongly affected by the economic condition of the country at the time.
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อศึกษาว่าการแข่งขันในตลาดมีผลในแง่ลบต่อกำหนดอัตราการจ่ายชำระคืนเงินให้กู้ยืมแก่ผู้มีรายได้ต่ำ โดยการศึกษานี้ได้มีการศึกษาในผลกระทบจากปัจจัยที่มีผลทำให้เกิดความแตกต่างในการกำหนดอัตราการจ่ายชำระคืนเงินให้กู้ยืมแก่ผู้มีรายได้ต่ำ ได้แก่ เพศ รายได้ อัตราดอกเบี้ย อายุของไมโครไฟแนนซ์(MFI) สถานะทางกฎหมาย และสถานะการกำกับดูแล เพื่อทดสอบความสัมพันธ์ของการศึกษาครั้งนี้ได้ใช้สองประเทศจากเอเชีย ได้แก่ อินเดียและบังคลาเทศ และสองประเทศจากละตินอเมริกา ได้แก่ เปรูและโบลิเวีย จากการอ้างอิงข้อมูลสถิติในช่วงเวลา ปี 2546 ถึง 2555 ผลการศึกษาในประเทศกลุ่มตัวอย่างพบว่าตัวแปรการแข่งขันไม่มีผลกระทบในประเทศกลุ่มตัวอย่าง ในขณะที่เพศ อายุและสถานะทางกฎหมายเป็นตัวแปรที่สำคัญในประเทศกลุ่มตัวอย่างที่ระบุ การศึกษานี้แสดงให้เห็นว่าในกรณีของประเทศโบลิเวียอัตราการจ่ายชำระคืนเงินให้กู้ยืมแก่ผู้มีรายได้ต่ำได้รับผลกระทบอย่างรุนแรงจากภาวะเศรษฐกิจของประเทศในช่วงเวลานั้น
Item Description:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/36584