Differences in health care utilization in Bavi District, Vietnam, 2002-2011

Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2012

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: Nghiem Nguyen Minh Trang (Author)
Other Authors: Kannika Damrongplasit (Contributor), Chitr Sitthi-Amorn (Contributor), Chulalongkorn University. Faculty of Economics (Contributor)
Format: Book
Published: Chulalongkorn University, 2013-11-06T02:37:02Z.
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/36592
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Description
Summary:Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2012
Health care utilization of different socio-economic groups is a very important factor for the policy-making process. Being aware of the model of health care utilization can help policy makers to evaluate the accessibility to health care services, evaluate the responsiveness of the health sector to people's needs and thus can adapt the health care services to the real situation. Capturing the differences in health care utilization of different demographic and socio-economic groups can help to narrow the gap between the rich and the poor in health care utilization, and thus can improve the health inequity in the society. The study aims at evaluating the differences in health care utilization among different demographic and socio-economic groups in Bavi district, Vietnam in the period of 2002 - 2011. This study analyzed a panel data of 45,326 individuals in 11,056 households with their demographic and socio-economic information in 2002, 2007 and 2011. Descriptive statistics and binary logistic regression for panel data were applied to capture the trend and distinguish the associations between demographic and socio-economic factors with the use of different types of health care services including self-treatment, the use of health care services at communal health centers, district hospitals, provincial/central hospitals and private clinics. Private clinics and self-treatment were used most commonly in Bavi in 2002, 2007 and 2011. There were significant differences in health care utilization among different demographic and socio-economic groups. Rich people tended to use more health care services at provincial/central hospitals while poor people treated themselves at home more frequently. Males used more formal treatment at provincial/central hospitals, district hospitals and private clinics than females. People with higher educational level and married people tended to use more tertiary and secondary care. Famers were more familiar with self-treatment. Therefore, more efforts should be made to improve the accessibility to health care services at higher level for the poor, and for people belonging to lower social classes.
การใช้บริการการดูแลด้านสุขภาพของกลุ่มทางเศรษฐกิจและสังคมที่แตกต่างกันเป็นปัจจัยสำคัญในขั้นตอนการวางนโยบาย การตระหนักรู้ถึงรูปแบบของการใช้บริการการดูแลสุขภาพสามารถช่วยผู้กำหนดนโยบายประเมินการเข้าถึงการให้บริการด้านการดูแลสุขภาพ, การประเมินการตอบสนองของผู้ให้บริการสุขภาพกับความต้องการของผู้รับบริการและความสามารถในการปรับตัวเข้ากับการให้บริการดูแลสุขภาพในสถานการณ์จริง การเข้าใจถึงความแตกต่างในการใช้ประโยชน์จากการดูแลสุขภาพของประชากรและภาวะเศรษฐกิจ-สังคมที่แตกต่างกันสามารถช่วยลดช่องว่างระหว่างคนรวยและคนยากจนในการใช้ประโยชน์จากการบริการสุขภาพ และ ยังสามารถเพิ่มความเสมอภาคทางสุขภาพในสังคมได้ การศึกษามีจุดมุ่งหมายที่การประเมินความแตกต่างในการใช้ประโยชน์การดูแลสุขภาพในกลุ่มประชากรและทางเศรษฐกิจและสังคมที่แตกต่างกันใน อำเภอแบวี, ประเทศเวียดนาม ในช่วงปี 2545 - 2554 การศึกษาครั้งนี้ วิเคราะห์ข้อมูลจาก 45,326 คน ใน 11,056 ครัวเรือน ที่มีลักษณะประชากรและภาวะเศรษฐกิจ-สังคมของพวกเขา ในปี 2545, 2550 และ 2554 โดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและสมการถดถอยโลจีสติกในการวิเคราะห์ข้อมูลแนวโน้มและจำแนกความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยทางด้านประชากรศาสตร์และภาวะทางเศรษฐกิจ-สังคม ต่อชนิดของการใช้ประโยชน์การบริการดูแลสุขภาพต่างๆ รวมถึงการดูแลรักษาตนเอง, การใช้บริการการดูแลสุขภาพที่ศูนย์สุขภาพชุมชน โรงพยาบาลอำเภอ โรงพยาบาล จังหวัด /ศูนย์ และ คลินิกเอกชนต่างๆ คลินิกเอกชนและการดูแลรักษาตนเองที่บ้านเป็นที่นิยมมากที่สุดในอำเภอแบวี ในปี 2545, 2550 และ 2554 และมีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญในการใช้ประโยชน์การดูแลสุขภาพในกลุ่มประชากร และภาวะเศรษฐกิจ-สังคมที่แตกต่างกัน คนรวยมีแนวโน้มที่จะใช้บริการมากขึ้นในการดูแลสุขภาพที่โรงพยาบาลจังหวัด / ศูนย์ ขณะที่คนยากจนดูแลรักษาตัวเองที่บ้านบ่อยครั้งมากขึ้น เพศชายมีการใช้บริการการดูแลสุขภาพอย่างเป็นทางการในโรงพยาบาลจังหวัด / ศูนย์ โรงพยาบาลอำเภอและคลินิกเอกชนเพิ่มขึ้นมากกว่าเพศหญิง คนที่มีการศึกษาที่สูงขึ้นและคนที่แต่งงานแล้วมีแนวโน้มที่จะใช้การบริการสุขภาพในระดับทุติยภูมิและตติยภูมิสูงขึ้น ชาวไร่ชาวนามีความคุ้นเคยกับการรักษาตนเอง ดังนั้นควรพยายามปรับปรุงการเข้าถึงการให้บริการด้านการดูแลสุขภาพในระดับสูงสำหรับคนยากจนและคนที่มีชนชั้นต่ำกว่า
Item Description:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/36592