Copolymerization of ethylene withdifferent α-olefins with poly(styrene-co- Divinylbenzene)-supported Cp[subscript 2]ZrCl[subscript 2]/MAO catalyst

Thesis (M.Eng.)--Chulalongkorn University, 2012

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: Sompong Saetang (Author)
Other Authors: Bunjerd Jongsomjit (Contributor), Chulalongkorn University. Faculty of Engineering (Contributor)
Format: Book
Published: Chulalongkorn University, 2013-11-06T09:44:30Z.
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/36602
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Description
Summary:Thesis (M.Eng.)--Chulalongkorn University, 2012
The study reveals the use of poly(styrene-co-divinylbenzene) as a support for Cp[subscript 2]ZrCl[subscript 2]/MAO catalyst for copolymerization of ethylene/α-olefins. It was aimed to determine the effect of comonomer chain length and ethylene/α-olefin ratios on the catalytic activity and properties of the polymer. Ethylene/α-olefins copolymerization reactions were carried out in a 100 mL semi-batch stainless steel autoclave reactor, activated by MAO cocatalyst at 70 °C and 6 psi of ethylene pressure at various initial comonomer type and comonomer concentrations. From the analysis of the resulting support particles by SEM, it was found that the active species are located on the particle surface and they have uniformly distributed throughout the particles. The activities of ethylene/α-olefin copolymerization increased with the increase of the comonomer concentration until the maximum was reached and then started to decrease with further increase of comonomer concentration. Moreover, The length of the chain of the comonomer and comonomer concentration had little effect on activities and activity profiles of copolymerization. The properties of copolymers produced were characterized by means of SEM, 13C NMR and DSC. Based on 13C NMR and DSC, all copolymer exhibited the similar distribution having the majority for the triad of EEE and melting temperature decreased slightly with increasing comonomer concentration.
ศึกษาการใช้พอลิสไตรีนโคไดไวนิลเบนซีนเป็นตัวรองรับสำหรับตัวเร่งปฏิกิริยา Cp2ZrCl2/MAO เพื่อโคพอลิเมอร์ไรเซชันของเอทิลีน/แอลฟา-โอลิฟิน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อหาผลความยาวโซ่ของโคมอนอเมอร์และอัตราส่วนระหว่างเอทิลีน/แอลฟา-โอลิฟินที่มีผลต่อความว่องไวของตัวเร่งปฏิกิริยาและคุณสมบัติของพอลิเมอร์ที่ได้ ปฏิกิริยาโคพอลิเมอร์ไรเซชันของเอทิลีน/แอลฟา-โอลิฟินจะถูกสังเคราะห์ในถังปฏิกรณ์เซมิแบทที่เป็นโลหะเหล็กกล้าไร้สนิทขนาด 100 มิลิลิตรซึ่งถูกกระตุ้นด้วยตัวเร่งปฏิกิริยาร่วม MAO ที่อุณหภูมิ 70 องศาเซลเซียลและทำการป้อนเอทิลีนที่ความดัน 6 ปอนด์ต่อตารางนิ้วที่มีชนิดและความเข้มข้นของโคมอนอเมอร์แตกต่างกัน ผลจากการวิเคราะห์ด้วยการสแกนนิงอิเล็กตรอนไมโครสโคปี พบว่าชนิดของตัวว่องไวจะอยู่บนพื้นผิวและกระจายตัวสม่ำเสมอตลอดทั่วอนุภาค ความว่องไวของเอทิลีน/แอลฟา-โอลิฟินโคพอลิเมอร์ไรเซชันเพิ่มขึ้นเมื่อความเข้มข้นของโคมอนอเมอร์เพิ่งสูงขึ้นจนกระทั่งถึงจุดสูงสุดและจากนั้นก็เริ่มลดลงเมื่อเพิ่มความเข้มข้นของโคมอนอเมอร์ อย่างไรก็ตามมีความยาวโซ่ของโคมอนอเมอร์และอัตราส่วนระหว่างเอทิลีน/แอลฟา-โอลิฟินมีผลกระทบต่อความว่องไวและโปร์ไฟล์ความว่องไวของโคพอลิเมอร์ไรชันเพียงเล็กน้อย คุณสมบัติของโคพอลิเมอร์ที่ผลิตได้ถูกตรวจสอบโดยใช้สแกนนิงอิเล็กตรอนไมโครสโคปี นิวเคลียร์แมกเนติกเรโซแนนซ์และดิฟเฟอร์เรนเชียลสแกนนิงคาลอรีเมทรี จากผลของนิวเคลียร์แมกเนติกเรโซแนนซ์และดิฟเฟอร์เรนเชียลสแกนนิงคาลอรีเมทรี พบว่าโคพอลิเมอร์ทั้งหมดมีการกระจายตัวเหมือนกันโดยส่วนใหญ่จะเป็นแบบ [EEE] และความเป็นผลึกของโคพอลิเมอร์จะลดลงเมื่อความเข้มข้นของโคมอนอเมอร์เพิ่มขึ้น
Item Description:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/36602