Radio-telemetry study of home range size and activities of the black Asian giant tortoise Manouria emys phayrei (Blyth, 1853)

Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2007

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: Pratyaporn Wanchai (Author)
Other Authors: Kumthorn Thirakhupt (Contributor), Stanford, Craig B. (Contributor), Chulalongkorn University. Faculty of Science (Contributor)
Format: Book
Published: Chulalongkorn University, 2014-01-16T12:22:19Z.
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/38320
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!

MARC

LEADER 00000 am a22000003u 4500
001 repochula_38320
042 |a dc 
100 1 0 |a Pratyaporn Wanchai  |e author 
245 0 0 |a Radio-telemetry study of home range size and activities of the black Asian giant tortoise Manouria emys phayrei (Blyth, 1853) 
246 3 3 |a การใช้วิทยุติดตามในการศึกษาขนาดของเขตอาศัยและกิจกรรมของเต่าหกดำ Manouria emys phayrei (Blyth, 1853) 
260 |b Chulalongkorn University,   |c 2014-01-16T12:22:19Z. 
500 |a http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/38320 
520 |a Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2007 
520 |a Home range sizes and activities of Manouria emys phayrei were studied at Kaeng Krachan National Park, Phetchaburi Province, Thailand from November 2005 - June 2007. A total of fourteen M. emys phayrei, consisting of eleven adults (seven males and four females) and three juveniles was radio-tracked. The median annual home ranges (95% minimum convex polygon) were 0.60 ± 0.33, 0.56 ± 0.07 and 0.08 ± 0.06 km² for adult males, adult females and juveniles, respectively. The median home range sizes of males and females were not significantly different but were significantly larger than the home range sizes of juveniles (Mann-Whitney U-test). The median home range sizes in the wet season (May - October) were larger than in the dry season (November - April) for most individuals. M.e.phayrei utilized 5 types of habitats; bamboo forest, dry evergreen forest, dry evergreen forest mixed with bamboo, stream and mud-swamp. In the rainy season (May - October), most adult tortoises were found foraging in the bamboo forest whereas juvenile tortoises were generally located in the mud-swamp. In the cold dry season (November-February), few tortoises were active and they were often found beneath fallen branches or leaf litter whereas in the hot-dry season (March - April) they were frequently found soaking in the shallow stream. The year-round averages for air temperature and relative humidity where the males, females and juveniles were found were not significantly different (ANOVA, p<0.05). Furthermore, the results showed that these tortoises are generalist herbivores, consuming at least 10 species of plants such as Lasia spinosa, Zingiber sp., Amorphophallus paeoniifolius, Musa sp., Marantha sp. and Bambusa sp.. Bambusa sp. and Lasia spinosa were main diets of adults and juveniles, respectively. 
520 |a การศึกษาอาณาเขตที่อยู่อาศัยและกิจกรรมการดำรงชีวิตของเต่าหกดำที่อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี ได้ดำเนินการ ตั้งแต่เดือน พฤศจิกายน 2548 - มิถุนายน 2550โดยใช้วิทยุติดตาม เต่าหกดำตัวเต็มวัยจำนวน 11 ตัว (ตัวผู้ 7 ตัว และตัวเมีย 4 ตัว) และตัวที่ยังเจริญไม่เต็มวัย 3 ตัว จากบริเวณเขาพะเนินทุ่ง ถูกนำมาติดเครื่องส่งสัญญาณวิทยุ เพื่อทำการติดตามเก็บข้อมูลในภาคสนาม พบว่าค่ามัธยฐานของเขตอาศัยตลอดทั้งปีของเต่าหกดำเพศผู้ คือ 0.60 ± 0.33 ตารางกิโลเมตร เพศเมีย คือ 0.56 ± 0.07 ตารางกิโลเมตร และ ตัวที่ยังไม่เต็มวัย คือ 0.08 ± 0.06 ตารางกิโลเมตร ขนาดของเขตอาศัยตลอดทั้งปีของเพศผู้และเพศเมียไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ แต่มีขนาดของเขตอาศัยมากกว่าตัวที่ยังไม่เต็มวัยอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ เมื่อศึกษาเป็นฤดูกาลพบว่า ขนาดของเขตอาศัยในฤดูฝนของเพศผู้และเพศเมีย มีขนาดกว้างกว่าในฤดูแล้งอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ แต่ในตัวที่ยังไม่เต็มวัยพบว่าขนาดของเขตอาศัยในฤดูฝนและฤดูแล้งไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ จากการศึกษา สามารถจำแนกถิ่นอาศัยของเต่าหกดำได้ 5 ประเภท ได้แก่ ป่าไผ่ ป่าดิบแล้ง ป่าดิบแล้งผสมป่าไผ่ ลำธารตื้นๆ และพื้นที่ชุ่มน้ำ โดยในช่วงฤดูฝน เต่าหกดำตัวเต็มวัยเลือกที่จะอยู่ในบริเวณป่าไผ่ซึ่งเป็นบริเวณที่มีแหล่งอาหารคือหน่อไม้ขึ้นอยู่ทั่วไป ส่วนตัวที่ยังไม่เต็มวัย มักจะพบแช่โคลนอยู่บริเวณพื้นที่ชุ่มน้ำ ในฤดูแล้งหนาว (พฤศจิกายน -กุมภาพันธ์) พบว่าเต่าหกดำทั้งตัวเต็มวัยและยังไม่เต็มวัย ส่วนใหญ่จะมีพฤติกรรมการซุกซ่อนตัวโดยเต่าหกจะซุกตัวใต้ใบไม้หรือกองไม้แห้ง และในฤดูแล้งร้อน (มีนาคม-เมษายน) พบว่าเต่าหกดำทั้งตัวเต็มวัยและยังไม่เต็มวัย เลือกที่จะอาศัยอยู่ใกล้ๆกับลำธารและมักจะพบว่าลงไปแช่น้ำในลำธารตื้นๆ สำหรับการศึกษาปัจจัยทางกายภาพในถิ่นที่อยู่อาศัยของเต่าหกดำ พบว่ามีอุณหภูมิอากาศและความชื้นสัมพัทธ์เฉลี่ยตลอดปีในบริเวณที่พบ เต่าหกดำเพศผู้ เพศเมีย และตัวที่ยังเจริญไม่เต็มวัย ไม่แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (ANOVA, p<0.05) และ จากข้อมูลการศึกษาด้านอาหารพบว่า เต่าหกดำกินพืชหลายชนิดเป็นอาหารเช่น Lasia spinosa, Zingiber sp., Amorphophallus paeoniifolius, Musa sp., Marantha sp., Bambusa sp. และเห็ดที่ไม่สามารถจำแนกชนิดได้ 2 ชนิด อาหารหลักของเต่าหกดำตัวเต็มวัย คือ หน่อไม้ Bambusa sp. และอาหารหลักสำหรับเต่าหกดำตัวยังเจริญไม่เต็มวัย คือ Lasia spinosa 
540 |a Chulalongkorn University 
546 |a en 
690 |a Black Asian giant tortoise -- Ecology 
690 |a Black Asian giant tortoise -- Geographical distribution 
690 |a Black Asian giant tortoise -- Thailand -- Kaeng Krachan National Park (Phetchaburi) 
690 |a เต่าหกดำ -- นิเวศวิทยา 
690 |a เต่าหกดำ -- การกระจายทางภูมิศาสตร์ 
690 |a เต่าหกดำ -- ไทย -- อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน (เพชรบุรี) 
655 7 |a Thesis  |2 local 
100 1 0 |a Kumthorn Thirakhupt  |e contributor 
100 1 0 |a Stanford, Craig B.  |e contributor 
100 1 0 |a Chulalongkorn University. Faculty of Science  |e contributor 
787 0 |n http://doi.org/10.14457/CU.the.2007.1635 
856 4 1 |u http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/38320