Antibacterial effect on Enterococcus faecalis of Er,Cr:YSGG laser irradiation compared to two irrigating solutions in root canals of extracted human teeth

Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2007

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: Thalerngsak Samaksamarn (Author)
Other Authors: Chantavat Sutthiboonyapan (Contributor), Oranart Matangkasombut (Contributor), Chulalongkorn University. Faculty of Dentistry (Contributor)
Format: Book
Published: Chulalongkorn University, 2014-01-18T13:28:43Z.
Subjects:
Online Access:http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/38332
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!

MARC

LEADER 00000 am a22000003u 4500
001 repochula_38332
042 |a dc 
100 1 0 |a Thalerngsak Samaksamarn  |e author 
245 0 0 |a Antibacterial effect on Enterococcus faecalis of Er,Cr:YSGG laser irradiation compared to two irrigating solutions in root canals of extracted human teeth 
246 3 3 |a ผลการต้านเชื้อเอ็นเทอโรคอคคัส ฟีคาลิส ของ เออร์เบียม โครเมียม อิตเทรียม สแกนเดียม แกลเลียม การ์เนต เลเซอร์ เปรียบเทียบกับน้ำยาล้างคลองรากฟันสองชนิดในคลองรากฟันแท้มนุษย์ที่ถูกถอน 
260 |b Chulalongkorn University,   |c 2014-01-18T13:28:43Z. 
500 |a http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/38332 
520 |a Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2007 
520 |a The objective of this study was to compare the antibacterial effect of Er,Cr:YSGG laser irradiation with two irrigating solutions in root canals of extracted human teeth. One hundred and twenty-five extracted single rooted teeth with straight roots were chosen. The canals were enlarged with K files to size 50 using crown-down technique and randomly assigned into four experimental groups of 30 teeth each and 5 teeth for sterility control group. After sterilization, all roots except the sterility control group were inoculated with 10 µl of 1x10⁸ CFU/ml of Enterococcus faecalis for 48 h at 37 ℃. The first group was used as a negative control group receiving no treatment. The second group and third group were irrigated with 5 ml of 2.5% NaOCl solution and 2% CHX solution for 10 min, respectively. The last group was irradiated with the Er,Cr:YSGG laser at 1.5 W output power with no air and water using four lasing cycles of 10 s each. After treatment, the canals were filled with sterile normal saline solution and were circumferentially filed with H-file size 50. The content in the canals was then transferred using a micropipette, plated on TSA agar immediately and incubated at 37 ℃ for 24 h. The colony forming units were counted, and the quantitative results were subjected to an One- Way ANOVA. The mean number of viable colonies in the negative control group was significantly higher than the other groups (p < 0.05). Comparing among the treated groups, the mean Log colony forming units (Log CFU) value obtained after Er,Cr:YSGG laser irradiation was statistically significantly higher than those of 2.5 % NaOCl and 2% CHX groups (p < 0.05). However, there was no significant difference between the 2.5 % NaOCl and 2% CHX groups (p> 0.05). It can be concluded that Er,Cr:YSGG laser irradiation can reduce the viable microbial population in root canals to a certain extent but is less effective than irrigating with 2.5 % NaOCl and 2% CHX solutions. 
520 |a การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลการต้านเชื้อของเออร์เบียม โครเมียม อิตเทรียม สแกนเดียม แกลเลียม การ์เนต เลเซอร์ กับน้ำยาล้างคลองรากฟันสองชนิดในคลองรากฟันแท้ของมนุษย์ที่ถูกถอน โดยศึกษาในฟันมนุษย์รากเดียว 125 ซี่ เตรียมคลองรากฟันด้วยวิธีคราวน์ดาวน์ให้มีขนาดเท่าตะไบชนิดเคเบอร์ 50 แบ่งฟันทั้งหมดโดยการสุ่มเป็น 4 กลุ่ม ๆ ละ 30 ซี่ ที่เหลืออีก 5 ซี่ใช้เป็นกลุ่มควบคุมภาวะปลอดเชื้อ ภายหลังการทำให้ปราศจากเชื้อ คลองรากของฟันทุกซี่ยกเว้นในกลุ่มควบคุมภาวะปลอดเชื้อถูกเพาะเชื้อ เอ็นเทอโรคอคคัส ฟีคาลิส ความเข้มข้น 1 x 10⁸ CFU/มิลลิลิตร ปริมาณ 10 ไมโครลิตร ในอุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 48 ชั่วโมง กลุ่มแรกใช้เป็นกลุ่มควบคุมผลลบซึ่งไม่ได้รับการล้างคลองราก กลุ่มที่สองและสามได้รับการล้างคลองรากฟันเป็นเวลา 10 นาที ด้วยโซเดียมไฮโปคลอไรต์ 2.5% และ คลอเฮกซิดีน 2 % ปริมาณ 5 มิลลิลิตรตามลำดับ และกลุ่มสุดท้ายได้รับการฉายด้วย เออร์เบียม โครเมียม อิตเทรียม สแกนเดียม แกลเลียม การ์เนต เลเซอร์ กำลัง 1.5 วัตต์จำนวน 4 รอบ ๆ ละ 10 วินาที ทดสอบเชื้อที่เหลืออยู่ในทุกกลุ่ม โดยใส่น้ำเกลือลงไปในคลองรากฟันและใช้ตะไบชนิดเคเบอร์ 50 ขูดโดยรอบผนังคลองรากฟัน หลังจากนั้นดูดน้ำเกลือในคลองรากฟัน นำไปเพาะบนวุ้นเลี้ยงเชื้อทันทีที่อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 24 ชั่วโมง นับจำนวนโคโลนีและนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ด้วยสถิติ One-Way ANOVA ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 ผลการศึกษาพบว่าค่าเฉลี่ยของปริมาณแบคทีเรียที่เหลือในกลุ่มควบคุมผลลบที่ไม่ได้รับการล้างคลองรากมีจำนวนมากกว่ากลุ่มอื่นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) เมื่อเปรียบในกลุ่มที่ฉายด้วยเลเซอร์และกลุ่มที่ได้รับการล้างด้วยน้ำยาล้างคลองรากฟันทั้งสองชนิดพบว่าค่าเฉลี่ยของปริมาณแบคทีเรียที่เหลืออยู่ในกลุ่มที่ฉายด้วย เออร์เบียม โครเมียม อิตเทรียม สแกนเดียม แกลเลียม การ์เนต เลเซอร์ มีจำนวนสูงกว่ากลุ่มที่ได้รับการล้างด้วยน้ำยาล้างคลองรากฟันทั้งสองชนิดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) แต่ในกลุ่มที่ได้รับการล้างด้วยโซเดียมไฮโปคลอไรต์ 2.5% และ คลอเฮกซิดีน 2 % ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p>0.05) จากการทดลองนี้สรุปได้ว่า เออร์เบียม โครเมียม อิตเทรียม สแกนเดียม แกลเลียม การ์เนต เลเซอร์ สามารถลดปริมาณแบคทีเรียในคลองรากฟันลงได้ในระดับหนึ่ง แต่มีประสิทธิภาพด้อยกว่าน้ำยาล้างคลองรากฟัน โซเดียมไฮโปคลอไรต์ 2.5% และ คลอเฮกซิดีน 2 % 
540 |a Chulalongkorn University 
546 |a en 
690 |a Enterococcus 
690 |a Irradiation 
690 |a Antibacterial agents 
690 |a Dental pulp cavity 
690 |a เอนเตอโรค็อกคัส 
690 |a การฉายรังสี 
690 |a สารต้านแบคทีเรีย 
690 |a คลองรากฟัน 
655 7 |a Thesis  |2 local 
100 1 0 |a Chantavat Sutthiboonyapan  |e contributor 
100 1 0 |a Oranart Matangkasombut  |e contributor 
100 1 0 |a Chulalongkorn University. Faculty of Dentistry  |e contributor 
787 0 |n http://doi.org/10.14457/CU.the.2007.1641 
856 4 1 |u http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/38332