The effect of international specialization on labor productivity : the case of Japanese electrical machinery
Thesis (M.A.)--Chulalongkorn University, 2012
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | , |
Format: | Book |
Published: |
Chulalongkorn University,
2014-03-31T06:53:34Z.
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/41993 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Summary: | Thesis (M.A.)--Chulalongkorn University, 2012 Main purpose of this thesis is tofind a linkage between international specialization and labor productivity in electrical machinery industry of Japan using quantitative analyses.After exploring data from 1990 to 2010,trade specialization index shows that Japan is competitive in the trade of parts and components to East Asia countries. Moreover,parts and components are analyzed separately from final goods when we classify trades into 3 patterns in HS85 (6digits level).Those patternsare one-way-trade (OWT),vertical intra-industry trade (VIIT), and Horizontal intra- industry trade (HIIT). VIIT has been increased whereas OWT has decreasedin the case of parts and components.For the case offinal goods, VIIT has increased and OWT has still remained at high level, which means that East Asia countries export themto Japanmore than before. Moreover,outsourcing ratio has shown upward trend during the period, which means that Japan has relies more on parts and components from East Asia.In regression model, we have used outsourcing ratioand VIIT ratio as the indices of international specialization which may influence on labor productivity. The results show that outsourcing ratiohas positive influence on labor productivity, although the VIIT coefficient does not statistically significant. การศึกษานี้เป็นการหาความสัมพันธ์ระหว่างความชำนาญทางการผลิตและการค้า และประสิทธิภาพของแรงงาน ในอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าของประเทศญี่ปุ่นโดยใช้ข้อมูลในช่วงปี ค.ศ. 1990-2010 การคำนวณดัชนีความชำนาญทางการค้า (Trade Specialization Index) แสดงให้เห็นว่าประเทศญี่ปุ่นมีความสามารถทางการแข่งขันกับประเทศในกลุ่มเอเชียตะวันออกในการส่งออกชิ้นส่วนและส่วนประกอบในอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้า การวิเคราะห์ในรายละเอียดใช้การวิเคราะห์สินค้าตามระบบฮาร์โมไนซ์ (Harmonized System: HS85) ในระดับ 8 หลัก โดยแบ่งแยกสินค้าออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มชิ้นส่วนและส่วนประกอบ และกลุ่มสินค้าขั้นสุดท้าย การวิเคราะห์ในส่วนแรกเป็นการวิเคราะห์รูปแบบทางการค้า ซึ่งทำโดยผ่านดัชนี 3 ประเภท ได้แก่ ดัชนีการค้าทางเดียว (one-way-trade index: OWT) ดัชนีการค้าภายในอุตสาหกรรมเดียวกันแบบแนวตั้ง (vertical intra-industry index: VIIT) และ ดัชนีการค้าภายในอุตสาหกรรมเดียวกันแบบแนวนอน (horizon intra-industry trade index: HIIT) ข้อสรุปจากการคำนวณดัชนีดังกล่าวพบว่า ชื้นส่วนและส่วนประกอบในอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าของญี่ปุ่นมีค่าดัชนี VIIT เพิ่มสูงขึ้นในขณะที่ดัชนี OWT ลดต่ำลง ในขณะที่สำหรับสินค้าขั้นสุดท้าย ค่าดัชนี VIIT มีค่าเพิ่มสูงขึ้นในขณะที่ดัชนี OWT มีค่าคงตัวอยู่ในระดับสูง แสดงให้เห็นว่าประเทศญี่ปุ่นมีแนวโน้มนำเข้าสินค้าเหล่านี้จากประเทศในกลุ่มเอเชียตะวันออกมากยิ่งขึ้น การคำนวณสัดส่วนการจ้างผลิตนอกองค์กร (Outsourcing Ratio) แสดงให้เห็นว่าอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้ามีการพึ่งพิงชิ้นส่วนและส่วนประกอบจากประเทศในเอเชียตะวันออกมากยิ่งขึ้น การวิเคราะห์ในส่วนที่สอง เป็นการวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ผ่านสมการถดถอยโดยใช้สัดส่วนการจ้างผลิตนอกองค์กร และ VIIT เป็นตัววัดระดับความชำนาญของประเทศ เพื่อหาความสัมพันธ์กับผลิตภาพของแรงงาน ผลจากสมการถดถอยพบว่าสัดส่วนการจ้างผลิตนอกองค์กร มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับผลิคผลของแรงงานอย่างมีนัยสำคัญ ในขณะที่ VIIT ไม่มีนัยสำคัญในกำหนดผลิตผลของแรงงาน |
---|---|
Item Description: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/41993 |