Inhibition and dissolution of wax deposition for phet crude in a semi-pilot scale using poly(ethylene-co-vinyl acetate)

Thesis (M.S.) -- Chulalongkorn University, 2007

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: Perapon Sirijitt (Author)
Other Authors: Chintana Saiwan (Contributor), Thammanoon Sreethawong (Contributor), Behar, Emmanuel (Contributor), Chulalongkorn University. The Petroleum and Petrochemical College (Contributor)
Format: Book
Published: Chulalongkorn University, 2014-04-04T10:49:43Z.
Subjects:
Online Access:Connect to this object online.
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!

MARC

LEADER 00000 am a22000003u 4500
001 repochula_42132zConnect to this object online.
042 |a dc 
100 1 0 |a Perapon Sirijitt  |e author 
245 0 0 |a Inhibition and dissolution of wax deposition for phet crude in a semi-pilot scale using poly(ethylene-co-vinyl acetate) 
246 3 3 |a การศึกษาการยับยั้งการเกิดไขและการละลายของไขน้ำมันดิบเพชรในระบบขนส่งน้ำมันจำลองโดยใช้สารโพลีเอททิลีนโคไวนิลอะซิเตท 
260 |b Chulalongkorn University,   |c 2014-04-04T10:49:43Z. 
520 |a Thesis (M.S.) -- Chulalongkorn University, 2007 
520 |a The most common problem found in petroleum fields is wax depostition, which occurs with all waxy crudes, including Phet crude (PTT Exploration and Production Public Company Limited, Thailand). When wax deposition occurs in the transporting tanks, so-called remaining-on-board or ROB, the volume of crude oil transported is reduced the wax precipitating in the storage tanks. In this work, poly (ethylene-co-vinyl acetate) or EVA analytical grade and EVA commercial grade (EVAFLEX) as a wax inhibitor were investigated in semi-pilot scale. Pour point temperature reduction and ROB were measured, and an economic assessment of the EVA wax inhibitor was also performed. EVA analytical grade with 40% vinyl acetate content at high concentration (1000 ppm) and 25% vinyl acetate content at low concentration (200 ppm) showed good effect on pour point reduction (from 31 to 17C and 31 to 21C) with 90 and 93% ROB reduction, respectively. In comparison, EVAFLEX with 33% vinyl acetate content reduced pour point temperature to 18C at 1000 ppm with 96% ROB reduction, and EVAFLEX with 28% vinly acetate content at low concentration (400 ppm) decreased the pour point temperature to 20C with 91% ROB reduction. In addition, the thermograms from DSC showed that the crystallization temperature of n-paraffins decreased as the concentration increased. Moreover, the amount of inhibitor distribution in oil was more than ROB fraction. Regarding the economic assessment, the addition of an EVAFLEX (28% VA) in a heavy aromatic solution with a concentration of 200 ppm showed a gain of net profit from selling ROB as crude when the initial of amount of working sludge wax solid was at least 2500 tons per year. 
520 |a ปัญหาส่วนใหญ่ที่พบในบริษัทผลิตปิโตรเลียมคือ การสะสมตัวของไขน้ำมันดิบที่เกิดขึ้นระหว่างการขนส่งซึ่งเกิดกับน้ำมันดิบที่มีความเป็นไขมาก และหนึ่งในนั้นคือน้ำมันดิบเพชร เมื่อไขน้ำมันดิบเกิดการสะสมตัวในระบบขนส่งจะถูกเรียกว่าไขติดค้าง ทำให้ปริมาตรของถังที่ใช้ในการขนส่งน้ำมันดิบน้อยลง งานวิจัยนี้ศึกษาการใช้สารยับยั้งการเกิดไขชนิดโพลีเอททิลีนโคไวนิลอะซิเตท ทั้งชั้นคุณภาพวิเคราะห์และเชิงพาณิชย์ ในการยับยั้งการสะสมตัวของไขในระบบขนส่งน้ำมันจำลองและในสภาวะจริง จากผลการทดลองในห้องปฏิบัติการพบว่า สารโพลีเอททิลีนโคไวนิลอะซิเตทชั้นคุณภาพวิเคราะห์ที่มีสัดส่วนของไวนิลอะซิเตทอยู่ 40 เปอร์เซ็นต์สามารถลดจุดไหลเทของน้ำมันดิบ จาก 31 เป็น 17 องศาเซลเซียส และลดไขติดค้างได้ 90 เปอร์เซ็นต์ที่ความเข้มข้น 1000 ส่วนในล้านส่วน และที่มีสัดส่วนของไวนิลอะซิเตทอยู่ 25 เปอร์เซ็นต์ สามารถลดจุดไหลเทของน้ำมันดิบ จาก 31 เป็น 21 องศาเซลเซียส และลดไขติดค้างได้ 93 เปอร์เซ็นต์ที่ความเข้มข้น 200 ส่วนในล้านส่วน ในขณะที่ขั้นเชิงพาณิชย์ที่มีสัดส่วนของไวนิลอะซิเตทอยู่ 33 เปอร์เซ็นต์ สามารถลดจุดไหลเทของน้ำมันดิบเป็น 18 องศาเซลเซียส และลดไขติดค้างได้ถึง 96 เปอร์เซ็นต์ที่ความเข้มข้น 1000 ส่วนในล้านส่วนของไวนิลอะซิเตทอยู่ 25 เปอร์เซ็นต์ สามารถลดจุดไหลเทของน้ำมันดิบเป็น 20 องศาเซลเซียสและลดไขติดค้าง 91 เปอร์เซ็นต์ที่ความเข้มข้น 400 ส่วนในล้านส่วน นอกจากนี้จากการศึกษาพบว่าอุณหภูมิของการแข็งตัวของพาราฟินลดลงเมื่อทำความเข้มข้นของตัวยับยั้ง และยังค้นพบว่าเมื่อทำการใส่สารยับยั้ง สารยับยั้งจะกระจายตัวอยู่ในส่วนที่เป็นน้ำมันมากกว่าส่วนที่เป็นไขติดค้าง ผลการวิเคราะห์เชิงเศรษฐศาสตร์โดยพิจารณาจากค่าใช้จ่ายในการกำจัดไขติดค้างเมื่อเทียบกับการใส่สารยับยั้งการเกิดไขพบว่า หลังจากการใส่สารยับยั้งการเกิดไขแล้วค่าใช้จ่ายในการกำจัดไขติดค้างมี่ค่าน้อยกว่าค่าใช้จ่ายในการกำจัดไขติดค้างด้วยวิธีเดิม 
540 |a Chulalongkorn University 
546 |a en 
655 7 |a Thesis  |2 local 
100 1 0 |a Chintana Saiwan  |e contributor 
100 1 0 |a Thammanoon Sreethawong  |e contributor 
100 1 0 |a Behar, Emmanuel  |e contributor 
100 1 0 |a Chulalongkorn University. The Petroleum and Petrochemical College  |e contributor 
856 4 1 |u http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42132  |z Connect to this object online.