LA SATIRE DE L'« AILLEURS » DANS LES AVENTURES DE TINTIN
Thesis (M.A.)--Chulalongkorn University, 2014
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | , |
Format: | Book |
Published: |
Chulalongkorn University,
2017-10-02T09:09:43Z.
|
Subjects: | |
Online Access: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53397 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Summary: | Thesis (M.A.)--Chulalongkorn University, 2014 L'« ailleurs » constitue le thème primordial de notre étude des 23 albums des Aventures de Tintin d'Hergé. Le personnage principal Tintin se déplace à l'étranger dans des contrées exotiques, mystérieuses, voire dangereuses. Dans un premier lieu, nous avons vu une critique des menaces des grandes puissances politiques envers l'ensemble du tiers-monde et une certaine image ridiculisée de l'incapacité des autorités nationales et internationales. Ces satires de la politique intérieure et extérieure de l'État renvoient à l'avidité du pouvoir ainsi qu'à l'absurdité dans son fonctionnement. Dans un second lieu, nous avons constaté la moquerie de la société humaine. D'une part, les stéréotypes des peuples de race non occidentale et même des Occidentaux sont vivement critiqués. La représentation de l'Autre est tournée en dérision mais l'auteur se rachète plus tard en faisant une auto-satire de sa race. D'autre part, nous avons constaté la décadence morale de l'Occident, surtout celle qui est issue de l'avidité de l'argent et de la conquête de la gloire. L'auteur tente de nous montrer que dans le monde immoral, il est possible d'utiliser tous les moyens malhonnêtes pour atteindre tel ou tel objectif. Quant à la satire de l'« ailleurs » dans Les Aventures de Tintin, l'auteur s'appuie principalement sur le comique en utilisant les procédés de l'analogie implicite, de l'exagération, de la dégradation, de la surprise et de la « ligne claire » dans le contenu et l'illustration. Les procédés sont parfois utilisés en même temps dans le but de montrer des images grossières, voire exagérées pour souligner une envie incessante et les comportements drôles mais ridicules des hommes. Nous pouvons en conclure ainsi qu'il n'y a pas que l'humour innocente dans ces bandes dessinées mais également de la moquerie du monde humain à travers la satire. "ที่อื่น" เป็นประเด็นสำคัญในการศึกษาการ์ตูนชุด การผจญภัยของแต็งแต็ง จำนวน 23 เล่ม ของแอร์เช แต็งแต็งซึ่งเป็นตัวละครเอกเดินทางไปยังต่างแดนอันลี้ลับ และบางครั้งก็มีอันตราย สิ่งที่ผู้วิจัยพบประการแรก คือ การวิพากษ์วิจารณ์เรื่องการคุกคามของประเทศมหาอำนาจทางการเมืองต่อกลุ่มประเทศโลกที่สาม รวมทั้งภาพความน่าขบขันในความไร้ประสิทธิภาพของเจ้าหน้าที่รัฐระดับประเทศและระดับโลก การเสียดสีด้านการเมืองทั้งภายในและภายนอกประเทศนี้ นอกจากจะสะท้อนให้เห็นถึงความโลภในอำนาจแล้วยังแสดงถึงความไร้แก่นสารในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่เช่นกัน ประเด็นที่สอง ผู้วิจัยสังเกตเห็นการล้อเลียนสังคมมนุษย์ ได้แก่ การเสียดสีสามัญทัศน์ของชนชาติที่ไม่ใช่ตะวันตกและแม้กระทั่งชาวตะวันตกด้วยกัน ภาพของผู้อื่นที่นำเสนอดูน่าขบขัน แต่อย่างไรก็ดีนักเขียนได้แก้ไขในเวลาต่อมาโดยการหันกลับมาเสียดสีชาติพันธ์เดียวกัน ทั้งนี้ยังมีการเสียดสีเรื่องความเสื่อมด้านศีลธรรมของชาวตะวันตก โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัจจัยซึ่งเกิดจากความโลภในเงินตราและการแสวงหาชื่อเสียงเกียรติยศ นักเขียนพยายามแสดงให้เห็นว่าในโลกที่ไร้ซึ่งจริยธรรม มนุษย์สามารถใช้วิถีทางที่ผิดศีลธรรมทุกประการเพื่อให้ได้มาซึ่งสิ่งที่ปรารถนา ในส่วนของกลวิธีการเสียดสี "ที่อื่น" ในการ์ตูนชุด การผจญภัยของแต็งแต็ง นักเขียนใช้การสร้างอารมณ์ขันเป็นหลัก โดยอาศัยการอุปมาที่มีนัยยะแอบแฝง การกล่าวเกินจริง การลดทอนคุณค่า การสร้างความประหลาดใจ และการสร้างความชัดเจนของลายเส้นและเนื้อหา เทคนิคทั้งหมดได้นำมาใช้ร่วมกันในบางครั้งเพื่อนำเสนอภาพที่น่ารังเกียจ แต่เกินจริง เพื่อเน้นให้เห็นความอยากที่ไม่สิ้นสุด และพฤติกรรมที่น่าขบขันของมนุษย์ กล่าวโดยสรุปได้ว่า ในการ์ตูนชุด การผจญภัยของแต็งแต็ง ไม่ได้ปรากฏเฉพาะอารมณ์ขันที่ไร้เดียงสา หากแต่ยังมีการล้อเลียนโลกมนุษย์ ด้วยกลวิธีการเสียดสี |
---|---|
Item Description: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53397 |