Selbstverwirklichung der Frauenfiguren in Ida Hahn-Hahns Roman Grafin Faustine und Louise Astons Roman Aus dem Leben einer Frau

Thesis (M.A.)--Chulalongkorn University, 2003

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: Warangkana Siriwanont (Author)
Other Authors: Thanomnuan O'charoen (Contributor), Chulalongkorn University. Faculty of Arts (Contributor)
Format: Book
Published: Chulalongkorn University, 2008-05-14T03:18:18Z.
Subjects:
Online Access:Connect to this object online.
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Description
Summary:Thesis (M.A.)--Chulalongkorn University, 2003
In der vorliegenden Magisterarbeit wird die Selbstverwirklichung von zwei weiblichen Hauptfiguren in zwei Romanen untersucht, deren Autorinnen unterschiedlicher gesellschaftlicher Stande sind. Es sind deutsche Frauenromane des 19 . Jahrhunderts, namlich Grafin Faustine von Ida Hahn-Hahn und Aus dem Leden einer Frau von Louise Aston. Untersucht wird, wie und unter welchen Umstanden die Selbstverwirklichung beider Frauenfiguren stattfindet, in welchem MaBe die damalige Gesellschaft Einfluss auf beide Autorinnen hat und inwiefern die jeweilige Biographie der Autorin mogliche Parallelen zur Hauptfigur des Romans darstellt. Aus der Untersuchung geht hervor, dass Selbstverwirklichung je nach der sozialen Schicht, den verschiedenen Erlebnissen, dem individuellen Charakter und den Moglichkeiten der Hauptfiguren unterschiedlich verlauft. Diese Selbstverwirklichung von Frauen impliziert, dass auch Frauen, wie Manner, das Recht und die Fahigkeit besitzen, sich in bestimmter Weise zu entwickeIn und dass sie als Menschen gleichberechtigt behandelt werden sollen. Neben den Ideen der Gleichberechtigung zwischen Frau und Mann, die durch die Handlung der Romane und AuBerungen der Hauptfiguren ausgedruckt werden, findet sich der Aspekt der Selbstverwirklichung auch darin, dass die Autorinnen, wie Manner. ein eigenes literarisches Wirkungsfeld erobern und als Berufsstellerinnen eine selbstandige Rolle im eigenen Leben einnehmen.
วิทยานิพนธ์นี้มีจุดประสงค์จะวิเคราะห์การพิสูจน์อัตลักษณ์ของตัวละครสตรี จากนวนิยายที่แต่งโดย นักประพันธ์สตรีเยอรมนีที่มีฐานันดรศักดิ์ต่างกันในสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 19 ในประเทศเยอรมนี โดยศึกษาจากนวนิยายเรื่องเกรฟินเฟาสตินา (Grafin Faustine) ของ อีดา ฮานฮาน (Ida Hahn-Hahn)และเรื่อง เอาส์ เด็ม เลเบน อายเนอ เฟรา (Aus dem Leben einer Frau) ของลูอิซเซ่ แอสตัน (Louise Aston)พร้อมทั้งวิเคราะห์สาเหตุและที่มาของการพิสูจน์อัตลักษณ์ของตัวละครสตรีในนวนิยายทั้งสอง เรื่อง และวิเคราะห์ปัจจัยทางสังคมและชีวประวัติของนักประพันธ์ที่มีอิทธิพลต่อตัวละครสตรีใน นวนิยาย จากการพบว่า สภาพสังคมของประเทศเยอรมนีในคริสต์ศตวรรษที่ 19 และชีวประวัติของ นักประพันธ์สตรีทั้งสองคนมีอิทธิพลต่อแนวคิด และการประพันธ์นวนิยายทั้งสองเรื่อง นักประพันธ์ที่มี ฐานันดรศักดิ์ต่างกัน ได้กำหนดให้ตัวละครสตรีของตนมีกระบวนการในการพิสูจน์ และค้นหาตัวตน ตลอดจนบรรลุถึงเป้าหมายของการพิสูจน์อัตลักษณ์ และได้รับผลกระทบจาการพิสูจน์อัตลักษณ์ที่ แตกต่างกัน ทั้งนี้ การพิสูจน์อัตลักษณ์ของตัวละครทั้งสอง ยังมีนัยสำคัญว่า สตรีมีสิทธิและ ความสามารถที่จะพัฒนาตนเองไปในทางใดทางหนึ่งได้เช่นเดียวกันกับบุรุษ และควรได้รับการปฏิบัติ อย่างเท่าเทียมกันกับบุรุษในฐานะที่เป็นมนุษย์คนหนึ่ง นอกจากการสื่อความคิดเรื่อง ความเท่าเทียม ระหว่างหญิงชายผ่านการกระทำ และความนึกคิดของตัวละครสตรีทั้งคู่แล้ว การที่ผู้ประพันธ์เป็น สตรีเพศยังแฝงนัยด้วยว่า สตรีมีความสมารถที่ไม่ด้อยกว่าบุรุษ และต้องการยกฐานะตนเองให้เป็น นักประพันธ์อาชีพซี่งเป็นการเปลี่ยนแปลงบทบาทสตรีไปจากบทบาทเดิมที่สังคมคาดหวัง
Item Description:9741735316